รายละเอียด / สำรองที่นั่ง
HA608:
เทคนิคถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ (Smart Quality Notetaker)
รุ่น 1
เทคนิคถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ (Smart Quality Notetaker)
รุ่น 1
วันที่อบรม: 16 ก.ค. 2568 - ถึง - 18 ก.ค. 2568
ระยะเวลาการอบรม 3 วัน
จำนวนที่สามารถลงทะเบียน 60 คน
จำนวนคนจ่ายเงินแล้ว 14 คน
ค่าลงทะเบียน 5000 บาท
ราคานี้รวม
ค่าเอกสาร
อาหารกลางวัน
ค่าอาหารว่าง
อื่นๆ
วิทยากร:
1. นพ.ทรนง พิลาลัย
2. คุณจุฑาธิป อินทรเรืองศรี
3. คุณสุทธิพงศ์ คงชุม
4. คุณสดศรี พูลผล
5. คุณสงวน แก้วขาว
สถานที่อบรม:
อบรมที่โรงแรม กรุงเทพฯ/ปริมณฑล
ระยะเวลาการอบรม 3 วัน
จำนวนที่สามารถลงทะเบียน 60 คน
จำนวนคนจ่ายเงินแล้ว 14 คน
ค่าลงทะเบียน 5000 บาท
ลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่
16 เม.ย. 2568 - ถึง - 16 มิ.ย. 2568
16 เม.ย. 2568 - ถึง - 16 มิ.ย. 2568
ราคานี้รวม
ค่าเอกสาร
อาหารกลางวัน
ค่าอาหารว่าง
อื่นๆ
วิทยากร:
1. นพ.ทรนง พิลาลัย
2. คุณจุฑาธิป อินทรเรืองศรี
3. คุณสุทธิพงศ์ คงชุม
4. คุณสดศรี พูลผล
5. คุณสงวน แก้วขาว
สถานที่อบรม:
อบรมที่โรงแรม กรุงเทพฯ/ปริมณฑล
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
แพทย์ พยาบาล เภสัชกร รวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นสมาชิกทีมนำทางคลินิก PCT บุคลากรสาธารณสุขหรือบุคลากรทั่วไปที่สนใจ (ผู้เข้าอบรมควรสมัครเป็นทีม รพ.อย่างน้อย 3 ท่าน)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม
1. เพิ่มพูนทักษะการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ 6 ด้าน ได้แก่ ทักษะการฟังจับประเด็น ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ ทักษะการตั้งคำถาม ทักษะการบันทึกและภาษาศาสตร์ ทักษะการจัดการเอกสารดิจิทัล ทักษะการวางแผนและจัดการเวลา
2. มีความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการถอดบทเรียน ได้แก่ แนวคิดการพัฒนาคุณภาพพื้นฐาน การจัดการกระบวนการ การบันทึกและภาษาศาสตร์
3. มีทัศนคติที่ดีต่อการบันทึก และการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ
4. สามารถสร้างผลงานถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน
เนื้อหา
1. เทคนิค 1 กระบวนการถอดบทเรียน 1.1. ทักษะการวางแผนและจัดการเวลา
1.2. แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ได้แก่ 3P, 3C-PDSA, Model of Improvement
2. เทคนิค 2 การฟังให้เป็น จับประเด็นให้ได้ความ
2.1. ทักษะการฟังจับประเด็น
3. เทคนิค 3 การบันทึกสรุปให้เป็นเรื่อง
3.1. หลักการพื้นฐานด้านภาษาศาสตร์และวรรณศิลป์ที่จำเป็นสำหรับการถอดบทเรียน
3.2. ทักษะการบันทึกและภาษาศาสตร์
4. เทคนิค 4 การถอดบทเรียน CQI
4.1. ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ
4.2. หลักการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Work, CQI)
5. เทคนิค 5 การถอดกระบวนการ
5.1. หลักการพื้นฐานของการจัดการกระบวนการ (Process flow and Management)
6. เทคนิค 6 การจัดการเอกสารดิจิทัล
6.1. ทักษะการจัดการเอกสารดิจิทัล
7. เทคนิค 7 การตั้งคำถามให้ได้ความรู้
7.1. ทักษะการตั้งคำถาม
8. เทคนิค 8 การบันทึกด้านการคิดเป็นภาพ
9. เทคนิค 9 การจัดการความรู้
แพทย์ พยาบาล เภสัชกร รวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นสมาชิกทีมนำทางคลินิก PCT บุคลากรสาธารณสุขหรือบุคลากรทั่วไปที่สนใจ (ผู้เข้าอบรมควรสมัครเป็นทีม รพ.อย่างน้อย 3 ท่าน)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม
1. เพิ่มพูนทักษะการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ 6 ด้าน ได้แก่ ทักษะการฟังจับประเด็น ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ ทักษะการตั้งคำถาม ทักษะการบันทึกและภาษาศาสตร์ ทักษะการจัดการเอกสารดิจิทัล ทักษะการวางแผนและจัดการเวลา
2. มีความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการถอดบทเรียน ได้แก่ แนวคิดการพัฒนาคุณภาพพื้นฐาน การจัดการกระบวนการ การบันทึกและภาษาศาสตร์
3. มีทัศนคติที่ดีต่อการบันทึก และการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ
4. สามารถสร้างผลงานถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน
เนื้อหา
1. เทคนิค 1 กระบวนการถอดบทเรียน 1.1. ทักษะการวางแผนและจัดการเวลา
1.2. แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ได้แก่ 3P, 3C-PDSA, Model of Improvement
2. เทคนิค 2 การฟังให้เป็น จับประเด็นให้ได้ความ
2.1. ทักษะการฟังจับประเด็น
3. เทคนิค 3 การบันทึกสรุปให้เป็นเรื่อง
3.1. หลักการพื้นฐานด้านภาษาศาสตร์และวรรณศิลป์ที่จำเป็นสำหรับการถอดบทเรียน
3.2. ทักษะการบันทึกและภาษาศาสตร์
4. เทคนิค 4 การถอดบทเรียน CQI
4.1. ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ
4.2. หลักการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Work, CQI)
5. เทคนิค 5 การถอดกระบวนการ
5.1. หลักการพื้นฐานของการจัดการกระบวนการ (Process flow and Management)
6. เทคนิค 6 การจัดการเอกสารดิจิทัล
6.1. ทักษะการจัดการเอกสารดิจิทัล
7. เทคนิค 7 การตั้งคำถามให้ได้ความรู้
7.1. ทักษะการตั้งคำถาม
8. เทคนิค 8 การบันทึกด้านการคิดเป็นภาพ
9. เทคนิค 9 การจัดการความรู้